svasdssvasds
เนชั่นทีวี

การเมือง

สรุปประเด็น รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) 2557

23 กรกฎาคม 2557
เกาะติดข่าวสาร >> Nation Story
logoline

มาตรา 5. กรณีไม่มีบทบัญญัติให้วินิจฉัยไปตามประเพณีการปกครองฯ (ม.7 ตาม รธน.ปกติ) แต่เพิ่ม-กรณีเกี่ยวกับงานของสภานิติบัญญัติ ให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) วินิจฉัย-กรณีนอกงานของ สภานิติบัญญัติ คสช. ครม. ศาล ให้ศาลรธน. วินิจฉัย-กรณีของ ศาลฎีกา หรือ ศาลปกครอง ให้เป็นหน้าที่ของที่ประชุมใหญ่แต่ละศาล (กรณีที่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี)เกี่ยวกับ สนช.-มีไม่เกิน 220 คน-คสช. แต่งตั้งเป็นคนแต่งตั้ง ดูจากความสามารถความหลากหลาย -ต้องไม่เคยดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองเป็นเวลา 3 ปี ,ไม่เป็นพระ/ นักบวช,ไม่ล้มละลาย, ไม่เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง หรืออยู่ระหว่างนั้น,ไม่เคยถูกให้ออกจากราชการจากกรณีทุจริต ,ไม่เคยถูกคำพิพากษายึดทรัพย์จากคดีทุจริต หรือทำผิดต่อหน้าที่,ต้องไม่เคยติดคุกเว้นแต่เป็นความผิดลหุโทษ ,ต้องไม่เป็น สภาปฏิรูปหรือรัฐมนตรี-ไม่ห้าม คสช. ไม่ห้ามข้าราชการประจำ **-พ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ,ลาออก ,คสช.ปลด ,มีลักษณะต้องห้าม ,สนช.มีมติปลดกันเอง,ขาดประชุมเกินกำหนด-ทำหน้าที่แทน สภาผู้แทน และ วุฒิสภา ,ตรากฎหมาย-เปิดอภิปราย นายกฯ หรือ รัฐมนตรีได้ แต่ลงมติไม่ไว้วางใจไม่ได้-ตั้งนายกฯ
เกี่ยวกับ นายกฯ และ ครม.- นายกฯ 1 คน รัฐมนตรีไม่เกิน 35 คน- นายกฯตั้งโดย สนช. ครม. ตั้งโดย นายกฯ- ประธาน สนช. ปลดนายกฯได้ , นายกฯปลดรัฐมนตรีได้- คุณสมบัติ สัญชาติไทยโดยการเกิด, อายุเกิน 40 , จบปปริญญาตรี ,ไม่เป็นสมาชิกพรรคกรเมืองภายใน 3 ปี ,ไม่เป็น สนช. สภาปฏิรูป กมธ.ยกร่าง รธน. สมาชิกสภาท้องถิ่น กรรมการองค์กรอิสระ ผู้พิพากษา- ไม่ห้าม คสช. หรือ ข้าราชการประจำ- อำนาจเป็นไปตาม ครม. ปกติ
เกี่ยวกับ สภาปฏิรูป-มีจำนวนไม่เกิน 250 คน-คสช. ถวายคำแนะนำในการตั้ง-คุณสมบัติเหมือน สนช. แต่เคยเป็นสมาชิกพรรคการเมืองได้ (เปิดโอกาสนักการเมืองร่วม)-วิธีสรรหาoจังหวัด สรรหาoกรรมการสรรหากลุ่มปฏิรูป 11 กลุ่มoให้ คสช. คัดเลือกเหลือ 250 คน โดยต้องมีจากจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน-หน้าที่ศึกษา และ จัดทำแนวทางปฏิรูป เสนอความเห็นต่อ กมธ.ยกร่าง รธน. และเห็นชอบร่าง รธน.ฉบับใหม่-ทำข้อเสนอจัดทำต่อ กมธ.ยกร่าง รธน. ภายใน 60 วัน นับจากประชุมครั้งแรก
เกี่ยวกับกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ-จำนวน 36 คน-ประธาน 1 คน คสช. เป็นคนเสนอ-ประกอบด้วย สภาปฏิรูปเสนอ 20 คน , สนช.เสนอ 5 คน , ครม. เสนอ 5 คน คสช. เสนอ 5 คน-ตั้งให้ได้ภายใน 15 วัน จากการประชุมสภาปฏิรูปครั้งแรก-คุณสมบัติ ต้องไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งางการเมือง แต่เป็น คสช. สนช. หรือสภาปฏิรูปได้ ,ไม่เป็นสมาชิกพรรคหรือดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองภายใน 3 ปี คุณสมบัติคล้ายสมาชิกสภาปฏิรูป ,ไม่เป็นผู้พิพากษาหรือดำรงตำแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญ-ห้ามดำรงตำแหน่งทางการเมือภายในสองปี หลัง พ้นจากตำแหน่ง
เกี่ยวกับการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ-ให้ร่าง รธน.ให้เสร็จใน 120 วัน นับแต่ได้รับความเห็นจากสภาปฏิรูปoสภาปฏิรูป ต้องประชุมเพื่อพิจารณา เสนอแนะหรือให้คามเห็นให้แล้วเสร็จใน 10 วันoสภาปฏิรูปขอแก้ไขเพิ่มเติมได้อีก มีเวลา 30 วัน-กมธ.ยกร่างฯ เสนอร่างให้ ครม. คสช. พิจารณาและ ขอแก้ไขเพิ่มเติมใน 30 วัน-กมธ.ยกร่างแก้ไขเพิมเติมให้เสร็จภายใน 60 วัน นับจากวันครบกำหนดการยื่นแก้ ก่อนส่งให้สภาปฏิรูป-สภาปฏิรูปต้องมีมติภายใน 15 วัน (แก้ไข เพิ่มเติมไม่ได้ เว้นแต่ไม่สาระสำคัญ หรือ กมธ.ยกร่างเห็นควรให้แก้ไขเพิ่มเติม)-หากเห็นชอบ ให้นำขึ้นทูลเกล้าใน 30 วัน-หากไม่เห้นชอบก็ให้ร่าง รธน. ตกไป และให้เริ่ม สภาปฏิรูปและ กมธ.ยกร่าง สิ้นสุดลง และเริ่มกระบวนการใหม่-หาก รธน. ผ่าน ให้ กมธ.ยกร่างยังอยู่ เพื่อร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องมีเรื่องดังนี้-รับรองความเป็นราชอาณาจักรแบ่งแยกมิได้-สร้างกลไกตรวตจสอบ และขจัดการทุจริต-สร้างกลไก ในการตรวจสอบผู้เคยถูกคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายเรื่องการทุจริต ไม่ให้เข้ามาดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด-สร้างกลไกให้เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พรรคการเมือง ไม่ถูกครอบงำหรือชี้นำจากบุคคลใดโดยไม่ชอบ-สร้างกลไกเสริมสร้างความเข้มแข็งหลักนิติธรรม คุณะรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล-สร้างกลไกป้องกันนโยบายประชานิยมที่สร้างความเสียหาย-สร้างกลไกป้องกันมิให้ทำลายหลักการสำคัญของ รธน.-สร้างกลไกผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสำคัญต่อไป-พิจารณาความจำเป็นและความคุ้มค่าขององค์กรอิสระคสช.-ให้ คสช. อยู่ต่อไป-มีไม่เกิน 15 คน-หากเห็นสมควร หัวหน้า คสช. หรือ นายกฯ อาจขอให้ประชุมร่วม คสช. - ครม. เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับความสงบหรือความมั่นคง หรือเรื่องอื่น-ยังคงอำนาจ ตรากฎหมาย ช่วงยังไม่มี สนช.-กรณีที่หัวหน้า คสช. เห็นจำเป็น มีอำนาจสั่งการ ระงับ ยับยั้ง การกระทำ ใม่ว่าการกระทำนั้นจะมีผลบังคับในทาง นิติบัญญัติ บริหารหรือ ตุลาการ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำของ คสช. ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ (คสช.มีอำนาจเหนือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ)ศาลรธน.-ยังคงมีอยู่ มีอำนาจหน้าที่พิจารณาว่ากฎหมายใดขัด รธน.การแก้ รธน.คสช. ครม. มีมติร่วมกันแก้ไข รธน. ฉบับนี้ได้นิรโทษกรรม-นิรโทษกรรมการกระทำและคำสั่ง คสช. ตั้งแต่ 22 พ.ค. - วันที่ ครม. เข้ารับตำแหน่ง---------
สรุปประเด็น รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) 2557
มาตรา 5. กรณีไม่มีบทบัญญัติให้วินิจฉัยไปตามประเพณีการปกครองฯ (ม.7 ตาม รธน.ปกติ) แต่เพิ่ม-กรณีเกี่ยวกับงานของสภานิติบัญญัติ ให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) วินิจฉัย-กรณีนอกงานของ สภานิติบัญญัติ คสช. ครม. ศาล ให้ศาลรธน. วินิจฉัย-กรณีของ ศาลฎีกา หรือ ศาลปกครอง ให้เป็นหน้าที่ของที่ประชุมใหญ่แต่ละศาล (กรณีที่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี)เกี่ยวกับ สนช.-มีไม่เกิน 220 คน-คสช. แต่งตั้งเป็นคนแต่งตั้ง ดูจากความสามารถความหลากหลาย -ต้องไม่เคยดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองเป็นเวลา 3 ปี ,ไม่เป็นพระ/ นักบวช,ไม่ล้มละลาย, ไม่เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง หรืออยู่ระหว่างนั้น,ไม่เคยถูกให้ออกจากราชการจากกรณีทุจริต ,ไม่เคยถูกคำพิพากษายึดทรัพย์จากคดีทุจริต หรือทำผิดต่อหน้าที่,ต้องไม่เคยติดคุกเว้นแต่เป็นความผิดลหุโทษ ,ต้องไม่เป็น สนช. ,สภาปฏิรูปหรือรัฐมนตรี-ไม่ห้าม คสช. ไม่ห้ามข้าราชการประจำ **-พ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ,ลาออก ,คสช.ปลด ,มีลักษณะต้องห้าม ,สนช.มีมติปลดกันเอง,ขาดประชุมเกินกำหนด-ทำหน้าที่แทน สภาผู้แทน และ วุฒิสภา ,ตรากฎหมาย-เปิดอภิปราย นายกฯ หรือ รัฐมนตรีได้ แต่ลงมติไม่ไว้วางใจไม่ได้-ตั้งนายกฯ
เกี่ยวกับ นายกฯ และ ครม.- นายกฯ 1 คน รัฐมนตรีไม่เกิน 35 คน- นายกฯตั้งโดย สนช. ครม. ตั้งโดย นายกฯ- ประธาน สนช. ปลดนายกฯได้ , นายกฯปลดรัฐมนตรีได้- คุณสมบัติ สัญชาติไทยโดยการเกิด, อายุเกิน 40 , จบปปริญญาตรี ,ไม่เป็นสมาชิกพรรคกรเมืองภายใน 3 ปี ,ไม่เป็น สนช. สภาปฏิรูป กมธ.ยกร่าง รธน. สมาชิกสภาท้องถิ่น กรรมการองค์กรอิสระ ผู้พิพากษา- ไม่ห้าม คสช. หรือ ข้าราชการประจำ- อำนาจเป็นไปตาม ครม. ปกติ
เกี่ยวกับ สภาปฏิรูป-มีจำนวนไม่เกิน 250 คน-คสช. ถวายคำแนะนำในการตั้ง-คุณสมบัติเหมือน สนช. แต่เคยเป็นสมาชิกพรรคการเมืองได้ (เปิดโอกาสนักการเมืองร่วม)-วิธีสรรหาoจังหวัด สรรหาoกรรมการสรรหากลุ่มปฏิรูป 11 กลุ่มoให้ คสช. คัดเลือกเหลือ 250 คน โดยต้องมีจากจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน-หน้าที่ศึกษา และ จัดทำแนวทางปฏิรูป เสนอความเห็นต่อ กมธ.ยกร่าง รธน. และเห็นชอบร่าง รธน.ฉบับใหม่-ทำข้อเสนอจัดทำต่อ กมธ.ยกร่าง รธน. ภายใน 60 วัน นับจากประชุมครั้งแรก
เกี่ยวกับกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ-จำนวน 36 คน-ประธาน 1 คน คสช. เป็นคนเสนอ-ประกอบด้วย สภาปฏิรูปเสนอ 20 คน , สนช.เสนอ 5 คน , ครม. เสนอ 5 คน คสช. เสนอ 5 คน-ตั้งให้ได้ภายใน 15 วัน จากการประชุมสภาปฏิรูปครั้งแรก-คุณสมบัติ ต้องไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งางการเมือง แต่เป็น คสช. สนช. หรือสภาปฏิรูปได้ ,ไม่เป็นสมาชิกพรรคหรือดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองภายใน 3 ปี คุณสมบัติคล้ายสมาชิกสภาปฏิรูป ,ไม่เป็นผู้พิพากษาหรือดำรงตำแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญ-ห้ามดำรงตำแหน่งทางการเมือภายในสองปี หลัง พ้นจากตำแหน่ง
เกี่ยวกับการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ-ให้ร่าง รธน.ให้เสร็จใน 120 วัน นับแต่ได้รับความเห็นจากสภาปฏิรูปoสภาปฏิรูป ต้องประชุมเพื่อพิจารณา เสนอแนะหรือให้คามเห็นให้แล้วเสร็จใน 10 วันoสภาปฏิรูปขอแก้ไขเพิ่มเติมได้อีก มีเวลา 30 วัน-กมธ.ยกร่างฯ เสนอร่างให้ ครม. คสช. พิจารณาและ ขอแก้ไขเพิ่มเติมใน 30 วัน-กมธ.ยกร่างแก้ไขเพิมเติมให้เสร็จภายใน 60 วัน นับจากวันครบกำหนดการยื่นแก้ ก่อนส่งให้สภาปฏิรูป-สภาปฏิรูปต้องมีมติภายใน 15 วัน (แก้ไข เพิ่มเติมไม่ได้ เว้นแต่ไม่สาระสำคัญ หรือ กมธ.ยกร่างเห็นควรให้แก้ไขเพิ่มเติม)-หากเห็นชอบ ให้นำขึ้นทูลเกล้าใน 30 วัน-หากไม่เห้นชอบก็ให้ร่าง รธน. ตกไป และให้เริ่ม สภาปฏิรูปและ กมธ.ยกร่าง สิ้นสุดลง และเริ่มกระบวนการใหม่-หาก รธน. ผ่าน ให้ สภาปฏิรูป และ กมธ.ยกร่างยังอยู่ เพื่อร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องมีเรื่องดังนี้-รับรองความเป็นราชอาณาจักรแบ่งแยกมิได้-สร้างกลไกตรวตจสอบ และขจัดการทุจริต-สร้างกลไก ในการตรวจสอบผู้เคยถูกคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายเรื่องการทุจริต ไม่ให้เข้ามาดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด-สร้างกลไกให้เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พรรคการเมือง ไม่ถูกครอบงำหรือชี้นำจากบุคคลใดโดยไม่ชอบ-สร้างกลไกเสริมสร้างความเข้มแข็งหลักนิติธรรม คุณะรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล-สร้างกลไกป้องกันนโยบายประชานิยมที่สร้างความเสียหาย-สร้างกลไกป้องกันมิให้ทำลายหลักการสำคัญของ รธน.-สร้างกลไกผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสำคัญต่อไป-พิจารณาความจำเป็นและความคุ้มค่าขององค์กรอิสระคสช.-ให้ คสช. อยู่ต่อไป-มีไม่เกิน 15 คน-หากเห็นสมควร หัวหน้า คสช. หรือ นายกฯ อาจขอให้ประชุมร่วม คสช. - ครม. เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับความสงบหรือความมั่นคง หรือเรื่องอื่น-ยังคงอำนาจ ตรากฎหมาย ช่วงยังไม่มี สนช.-กรณีที่หัวหน้า คสช. เห็นจำเป็น มีอำนาจสั่งการ ระงับ ยับยั้ง การกระทำ ใม่ว่าการกระทำนั้นจะมีผลบังคับในทาง นิติบัญญัติ บริหารหรือ ตุลาการ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำของ คสช. ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ (คสช.มีอำนาจเหนือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ)ศาลรธน.-ยังคงมีอยู่ มีอำนาจหน้าที่พิจารณาว่ากฎหมายใดขัด รธน.การแก้ รธน.คสช. ครม. มีมติร่วมกันแก้ไข รธน. ฉบับนี้ได้นิรโทษกรรม-นิรโทษกรรมการกระทำและคำสั่ง คสช. ตั้งแต่ 22 พ.ค. - วันที่ ครม. เข้ารับตำแหน่ง

logoline